ศาสตราจารย์ เลอสม สถาปิตานนท์

สถาปัตยกรรมศาสตร์ / Architecture

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




บ้านของเรา บ้านสถาปนิก = Our House, Architects' House

นิธิ สถาปิตานนท์, เลอสม สถาปิตานนท์ และนิธิศ สถาปิตานนท์


ครองศักดิ์ จุฬามรกต



"I am an architect I am working for a project to set up a "motther museum" in thailand hoping that this project would helps people concerned more about humanities."
https://www.pinterest.com/plubpluengh/tree-drawing-by-krongsak-chulamorkodt/







Krongsak Chulamorkodt 
Drawing by Dinhin Rakpong-Asoke

https://www.facebook.com/mothersspiritualmuseum/?fref=ts


งานแสดงภาพวาดดินสอ ชุด "ธรรมชาติสนทนา" โดย ครองศักดิ์ จุฬามรกต


"ความเป็นมนุษย์ที่แท้ บนวิถีแห่งความรัก" อันเนื่องมาจากความรักของแม่
เนื่องในงานแนะนำ โครงการอุทยานการเรียนรู้แห่งความรักและสันติภาพ 'พิพิธภัณฑ์แม่' 
(Mother's Spiritual Museum)
ทาง พระไพศาล วิสาโล 
ได้แสดงปาฐกถาธรรมไว้อย่างน่าสนใจ ในหัวข้อ 'ความเป็นมนุษย์ที่แท้ บนวิถีแห่งความรัก'
เพื่อปลุกพลังความดีในตัวของมนุษย์โดยมีพลังความรักของแม่เป็นจุดตั้งต้น
แล้วแปรเปลี่ยนเป็นความรักความเมตตาไปสู่เพื่อนมนุษย์
สำหรับ อุทยานการเรียนรู้พิพิธภัณฑ์แม่นี้ มุ่งสร้างสรรค์และดำเนินการให้เกิดการเรียนรู้อย่างเบิกบาน
มีชีวิตชีวา เพื่อสร้างเสริมแรงบันดาลใจให้ปัจเจกบุคคล และประชาสังคม ระลึกรู้ โดยอาศัย
'พลังแห่งความเป็นแม่' ซึ่งมีแฝงฝังอยู่แล้วในจิตวิญญาณของมนุษย์
นำออกมาใช้ให้เกิดดุลยภาพในการดำเนินชีวิตที่ยังประโยชน์ให้กับตนเอง สังคม และความยั่งยืนของโลกที่เราอาศัยอยู่






จักรกฤษณ์ เมธชนัน

Chakkrit Metchanun
INDA
Department of Architecture
Chulalongkorn University
Bangkok, Thailand








Expertise: 
Architectural Engineering, Industrial Design


รวยพร ชมภูทีป

 


Author : รวยพร ชมภูทีป, and etc.
ISBN : 9786167800073
Publisher : Li-Zenn Publishing Limited

Synopsis :หนังสือรวบรวมผลงานภาพสเก็ตช์ของสถาปนิกที่
รักการสเก็ตช์ภาพทั้ง 9 คน 
ที่ล้วนแต่รักงานศิลปะ รักการเขียนภาพและรักอิสระ
ภาพที่เขียนขึ้นออกมาจากจินตนาการ จากความถนัด ความชอบ
และความรักในการขีดเขียนของแต่ละคนเส้นสายที่เกิดขึ้นล้วนแสดงออก
ถึงความเป็นตัวตน ที่แตกต่างกันไป ด้วยเพราะบางคนเป็นสถาปนิก
เป็นอาจารย์ เป็นนักวิชาการเป็นนักถ่ายภาพมืออาชีพ
เป็นนักเขียน เป็นนักดนตรี หรือเป็นนักธุรกิจ

ผศ.รัชด ชมภูนิช













สรวิศ ณ นคร










https://www.facebook.com/normaisixdots

คู่มือคนคิด(จะ)สร้างบ้าน/ หนังสือเล่มแรก



เรื่องหลังบ้าน 









WRITER: นัดจินหน่อง
PHOTOGRAPHER: ปิยะวุฒิ ศรีสกุล
May 22,2014
          ลองจินตนาการว่าหากได้ออกไปสูดอากาศบริสุทธิ์ให้เต็มปอด ได้เห็นวิวธรรมชาติเต็มสายตา แล้วทิ้งภาพความแออัดของเมืองใหญ่ที่เห็นจนชินตาไว้เบื้องหลัง คิดว่าคงเป็นความรู้สึกแสนภิรมย์ที่ใครๆ ต่างก็ปรารถนา เช่นเดียวกับเจ้าของบ้านตากอากาศเห็นวิวทะเลในแถบพัทยาใต้หลังนี้ 
          คุณมาลินี โตสกุล เจ้าของบ้าน เล่าความเป็นมาให้ฟังว่า “เห็นที่ดินผืนนี้มานานแล้ว รู้สึกถูกใจแต่แรก ตั้งใจว่าหากมีโอกาสจะซื้อและปลูกบ้านพักเพราะสามารถรับลมที่โชยมาเอื่อยๆ ได้ตลอดทั้งวัน อยากได้บ้านสีขาวแบบเรียบง่าย เพื่อไว้เป็นสถานที่พักผ่อนอย่างแท้จริง”
          และแล้วโอกาสก็มาถึง เมื่อในที่สุดคุณมาลินีได้ซื้อที่ดินผืนนี้ เธอจึงสานฝันให้เป็นจริงด้วยการให้ คุณสรวิศ ณ นคร สถาปนิก ช่วยทำให้เป็นรูปเป็นร่าง คุณสรวิศเล่าแนวคิดในการออกแบบบ้านหลังนี้อย่างอารมณ์ดีว่า
          “แนวคิดการออกแบบบ้านหลังนี้ก็คือไม่ทำอะไรยากๆ ไม่มีอะไรซับซ้อน พื้นที่ใช้สอยมีแค่ห้องรับแขก - นั่งเล่น ห้องรับประทานอาหารห้องนอน 3 ห้อง ห้องน้ำ 4 ห้อง และที่ต้องมีคือระเบียงเพื่อรับลมชมวิวในห้องรับแขก - นั่งเล่น ห้องรับประทานอาหาร และห้องนอน จะติดแอร์ไว้ด้วย แต่เจ้าของจะเปิดก็ต่อเมื่อช่วงนั้นไม่มีลมบกลมทะเลพัดเข้ามานอกนั้นก็อาศัยลมธรรมชาติ ส่วนตัวบ้านด้านนอกก็มีรูปแบบง่ายๆธรรมดาๆ และทาสีขาวตามความต้องการของเจ้าของบ้าน แต่ดูน่าอยู่และน่านอนมาก เรียกว่าทำบ้านออกมาให้ได้ตามที่คิดที่พูด แต่คิดอีกแง่หนึ่ง สิ่งที่ยากของบ้านหลังนี้อาจเป็นการออกแบบให้ได้อย่างที่คิดที่พูดก็ได้นะ”
          รอบบ้านเป็นภูมิประเทศที่สวยงามและเงียบสงบ มีต้นไม้อยู่รายรอบพื้นมีลักษณะเป็นทางลาดนิดๆ ไปสู่ทะเลที่เห็นอยู่ไกลๆ สายลมที่พัดมาเอื่อยๆ ตลอดเวลา และเสียงนกร้อง มีส่วนสำคัญที่ทำให้การอยู่ในบ้านหลังนี้น่าเพลิดเพลินและชวนให้เอนตัวลงนอนเล่นดังที่คุณสรวิศว่า ในความเรียบง่ายและธรรมดาตามที่ผู้ออกแบบบอก เรากลับพบว่านี่คือความสุขและความสบายที่สามารถสัมผัสได้ และนี่แหละคือเสน่ห์ของบ้านหลังนี้
          “ผมออกแบบให้แปลนห้องสำคัญๆ อยู่ในตำแหน่งที่ไม่มีการบังกันสามารถเปิดประตูหน้าต่างให้ลมทะลุหน้าทะลวงหลังได้ มาบ้านนี้แล้วจะง่วงทุกทีครับ เหมือนโดนยานอนหลับอ่อนๆ?ตลอดเวลา” 
          สำหรับเรื่องการตกแต่งภายในจะไม่เน้นการประดับประดา หากแต่มุ่งเน้นประโยชน์ใช้สอยเป็นหลัก ไม่ว่าจะเป็นขนาดที่กว้างขวางใช้งานสะดวกของบันได กระเบื้องปูพื้นชั้นล่างที่ทนทานและดูแลรักษาง่าย หรือชั้นวางของที่ออกแบบให้มีเส้นสายเรียบง่าย การตกแต่งที่ดูเด่นที่สุดของบ้านหลังนี้เห็นจะเป็นผนังทาสีเขียวขี้ม้าในบางส่วนของบ้าน 
          คุณสรวิศ ซึ่งสละเวลาอยู่กับเรามาทั้งวันกล่าวทิ้งท้ายถึงชื่อผลงานออกแบบบ้านหลังนี้ของเขาว่า “คนชอบถามว่างานออกแบบที่พัทยามีชื่อว่าอะไร ผมก็บอกว่า ‘บ้านตากอากาศ’ ผมชอบคำนี้ ฟังดูเก๋าดี??ตากอากาศไม่ใช่ตากแดดตากฝน ดูผึ่งๆ แผ่ๆ พักผ่อนๆ และอากาศที่บ้านนี้ก็ต่างจากอากาศที่บ้านผม เพราะที่นี่ช่างสดชื่นเหลือเกิน น่าตากยิ่งนัก เลยมาผสมเป็น ‘บ้านตาก...ต่างอากาศ’ แต่ยาวไป เลยขอเรียกแค่ ‘บ้านต่างอากาศ’ก็พอครับ” 

อ.นิธิ สถาปิตานนท์





Founder of leading architecture firm A49,
whose massive projects now span the region and the Middle East,
Nithi Sthapitanonda, 64, tells us why he choose to start
his own business and how Bangkok can hope
to fix its many urbanism issues
.
By Monruedee Jansuttipan
| published Sep 01, 2011
Being an architect wasn’t a very popular career choice
40 years ago. All I knew was that architects designed houses.

I really liked to draw things when I was a kid.
That’s why my teacher suggested I study architecture in college.

I got into both Chulalongkorn and Silpakorn universities
but I chose Chula because I knew some seniors there
and I liked playing rugby. I played for Chula’s rugby team for three years.
Nowadays people don’t watch it anymore,
but rugby was popular back then.

I left the managing director position at an architecture firm
because I wanted to open my own company.
I didn’t just want to be an employee.
If you want to do something your way,
you’ve got to do it on your own.

I wasn’t worried about starting my own business
because I was a top manager before and
I’d made it through hard times.
I knew I could start off small and make it grow later.
I made it through a few recessions.
I know how to handle a bad economy.

I had to be really careful with customers.
You can’t just accept every job someone offers you.
If your customers are corrupt,
your business won’t survive either.

A career like mine doesn’t really have an elevated position.
I just want to give it my best.
When people accept my work,
that’s success. Society is the judge.

Bringing the firm into the international market is a necessity.
Now foreigners are starting businesses in Thailand.
If we don’t compete with them, we’ll be left behind.

I began publishing books to represent Thai architecture
when I saw architecture books representing Singapore,
Malaysia, the Philippines and Indonesia.
There were no books on Thai architecture.
That was embarrassing. I wanted to show that
Thais can design for the world, too.

We don’t have much stunning architecture because
we are not a wealthy country. Thais build houses
and buildings to live in. We don’t really care about luxury.
We don’t invest much money in architecture like Singapore.
We still have so many people living in slums.

We’re going to have more people living in slums
if the government doesn’t create a plan to help them.
They must show people that you don’t have to
move to the city to live a good life.

It takes time to improve the lives of people in slums.
Maybe we should start with education.
When people are educated they might change
to improve their own lives.

Bangkok is an extraordinary city.
It’s where the high-end and low-end meet.
The rich and the poor live together: wealthy people dine
in fancy restaurants, poorer folks eat at cheaper places,
but the taste of their food is not really that different.
You don’t find this in other parts of the world.

Architecture can improve society if you get rid of corruption.
But Thailand has suffered so much corruption
from every government.

There is so much poverty and filth and so many traffic jams.
Bangkok to me is not that beautiful a city, compared
to where I’ve been in Europe or the US.

But Bangkok has character. My foreign friends have said
that every corner of the city is different,
and that makes it interesting.
That’s what’s charming about Bangkok.
And the cost of living is very cheap, too.

We must not forget that our country has 76 more cities
aside from Bangkok. Lately we’ve seen a few
more cities became self-sufficient, such as Chiang Mai,
Khorat, Udonthani, Khon Kaen.
People who’ve grown up and gone to college
there don’t necessarily want to move to Bangkok,
so they find work there instead.
They’d rather stay where they are because
they know that those places can still expand and improve.

I would take care of the illegal signs and establish laws
for controlling street vendors, if I were Bangkok’s governor.
If you drive along the streets nowadays
you’ll see rows and rows of advertising canvases,
covering the stalls of street vendors.
We have to find a way to manage them and,
at the same time, make sure that those street vendors
can still make a living.

I’m a simple person. I don’t need any luxury.
If I had a sports car, a private jet, or a yacht,
I would have to find someone to take care of them for me,
and that’s nothing but a burden.

Happiness doesn’t always have to be something grand.
You have to find out where your happiness is.